วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

นำ Google Earth มาช่วยงานวางแนวท่อ


รูปแนวท่อก๊าซ เส้นที่ 4 ของ ปตท.จาก Presentation ของ บริษัท TRC

การนำ Google Earth มาใช้ช่วยงานวางท่อ

การจัดทำแผนที่ แนวท่อ ระยะต่างๆ จุดที่จะทำ HDD ซึ่งสามารถกำหนด-วัดระยะต่างๆ ได้ การย่อยแนวท่อ เพื่อการวางแผนงาน หรือ ประกอบการนำเสนอต่างๆ ซึงจุดที่ปักธงไว้ สามารถ ระบุ รายละเอียดได้อีกด้วย รวมทั้ง การแสดงได้ในหลายรูปแบบ เป็นแผนที่ และเป็นภาพถ่ายทางอากาศ สรุปคือ จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่งในการนำมาช่วยงาน (แต่การสำรวจ พื้นที่จริง ก้อมีความจำเป็นมาก เนื่องจาก ภาพใน Google Earth เป็นแผนที่เก่า โดนเฉพาะรูปถายทางอากาศ)


มารู้จักกับ ไฟล์นามสกุล *.kmz
ไฟล์ .kmz เป็นไฟล์ที่สร้างขึ้นจากโปรแกรม Google Earth โดยไฟล์ที่อยู่ใน .kmz จะประกอบด้วยไฟล์ .kml และรูปภาพต่างๆที่มีการปักหมุดใน Google Earth การใช้งานสามารถเซฟไว้ที่ไหนก็ได้ เหมือนเป็นไฟล์ .xls ของ Excel หรือ .doc ของ Word
ถ้ามีการติดตั้งโปรแกรม Google Earth ในเครื่องอยู่แล้ว เวลาดับเบิลคลิกที่ไฟล์ .kmz ก็จะไปเรียกโปรแกรมเองโดยอัตโนมัติ
ไฟล์ .kml คือ ไฟล์ข้อมูลที่เกี่ยวค่าพิกัด, ความสูง, ข้อมูล ของหมุดที่มีการปักหมุดใน Google Earth

Download Portable Google Earth <- กดเพื่อดาวน์โหลด
ตัวอยางไฟล์ kmz จำวนวนมาก <- กดเพื่อดาวน์โหลด

เช่น
  • โรงกลั่นน้ำมันทั่วโลก
  • Crop Circle Collection
  • แนวท่อน้ำมันในอ่าวเม็กซิโก
  • แผนที่การทหาร
  • และอื่นๆ
ไฟล์ kmz ถนน และสถานที่สำคัญต่างๆ ทั่วประเทศ กดที่เวบลิงค์ด้านล่างเพื่อโหลดไฟล์ kmz

ดาวน์โหลด kml/kmz
กรุงเทพ
เขตการปกครอง
เส้นทางด่วน
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เขตพื้นที่รับผิดชอบของตำรวจนครบาล
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่งขนส่ง
เส้นทางรถไฟฟ้า
ภาคกลาง
เขตการปกครอง
เส้นทางด่วน
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เขตพื้นที่รับผิดชอบของตำรวจนครบาล
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง
ภาคตะวันออก
เขตการปกครอง
เส้นทางด่วน
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เขตการปกครอง
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง
ภาคเหนือ
เขตการปกครอง
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง
ภาคใต้
เขตการปกครอง
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง
ภาคตะวันตก
เขตการปกครอง
ตำแหน่งจุดตัดถนน
สถานที่สำคัญ
เส้นทางรถไฟ
แม่น้ำ
เส้นทางคมนาคม
สถานีขนส่ง



รูปแนวท่อน้ำมันและก๊าซ ในอ่าวเม็กซิโก

รุปโรงกลั่นที่มีอยู่ทั่วโลก

แผนที่ทางด่วยสายภาคตะวันออก
แผนที่ทางด่วยสายภาคตะวันออก
แผนที่ทางด่วยสายภาคตะวันออก


การใช้ Google Earth ดูแผนที่เมม ข้อมูลฟ้าผ่า ทั่วโลก......

Google Earth

Google Earth
เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับในการดูแผนที่ หรือตรวจสอบข้อมูลค้นหว้าข้อมูลต่างๆโดยอาศัยจากการเปรียบเทียบโลกของเรา เพียงแค่เราอยากรู้ว่าที่นั้นมีอะไรเพียงแค่เลื่อนเมาท์ และคลิกก็จะมีข้อมูล ทั้งนี้ หากเราใช้ Google Earth
แบบ Professional จะสามารถทำให้ดูภาพเป็นสามมิติได้ครับ (สังเขปของโปรแกรม)

ทำไมต้อง Google Earth


อิอิ ไม่ได้ขายของน่ะครับ แต่เอามาให้ใช้ฟรี

มันสามรถดูพายุได้น่ะสิ่ ไม่ใช่แค่พายุน่ะครับ แต่มันสามารถดูได้ทุกอย่างเลย ไม่ว่า จะเป็นข้อมูลสถิตติของการเกิดฟ้าผ่าทั่วโลก การสังเกตุการเคลื่อนไหวของกลุ่มเมมทั่วโลกที่เกิดขึ้น โดยจะอัพเดททุกๆ 3 ชั่วโมง และนอกจากนี้เรายังใช้โปรแกรมเพื่อนการเรียนรู้และเปิดโลกกว้างได้

ความเห็นที่ 1 โดยคุณ ภาสกร (58.8.90.244) [30-08-2007 16:40] #14794

คือมันกว่าของ Digital - Typhoon น่ะครับ แต่การดูพายุที่ละเอียดนั้น ยังต้องขึ้นกับหน่วยงานของประเทศญีปุ่นครับ แต่อันนี้ที่ผมไปเจอนั้นมันดีตรงที่มีรายละเอียดสำหรับคนที่ชอบเกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยาจิงๆ สำหรับคนทั่วไปด้วย มีข้อมูลต่างๆๆ เช่น อุณหภูมิ ประจำวัน เป็น แถบสี และอื่นๆ ครับ

นี่คือลิงค์น่ะครับ
http://www.gearthblog.com/kmfiles/gebweather.kmz

อันี้เป็นอันใหม่

ส่วนวิธีการลงนั้นไม่ยากให้ดูจาก วิธีขั้นตอนที่ผมแนบภาพมาให้น่ะครับ อาจจะเปลี่ยนที่ชื่อไฟล์นิดเดียว จาก Active.en เป็น gebweather.kmz ครับ ส่วนในเรื่องรายละเอียดไม่ยากเท่าที่ควร

อันล่างนี้จะเป็นของเก่าน่ะครับ สำหรับคนที่ชอบดูเฉพาะแปซิฟิก
แต่อันบนสำหรับคนอยากรู้เห็นไปทั่วโลก อิอิ


ลิงค์ดาวน์โหลด Google Earth http://dl.google.com/earth/client/branded/redirect/Google_Earth_BZXV.exe

ลิงค์ดาวน์โหลดดูพายุผ่าน Google Earth อับเดททุกๆ 1 ช.ม แต่ข้อมูลพายุ ทุกๆ 3 ช.ม http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/kml/active.ja.kml

สำหรับคนที่จะดูพายุ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วมีสามารถย้อนดูได้ น่ะครับ



วิธีทำก็ดูเอาจากภาพน่ะครับ มีขั้นตอนละเอียด ยิบ เลยครับ ลองใช้ดูครับ บางมีพายุเกิด แต่ภาพดาวเทียม ของไทยดูไม่ถึง เหมาะสำหรับคนชอบติดตามการเกิดพายุ บ้าคลั่ง อิอิ
และติดตามตลอดเวลา และสำหรับคนที่จะคำนวนว่าเส้นทางพายุ***งเท่าไรก็ดูได้ ครับ

โดยคุณ ภาสกร [25-04-2008 11:09]

http://www2.tmd.go.th/webboard/show.php?Category=meteorology&No=3810&PHPSESSID=4f04fd4441e4da9f11ed5099fa8367d2


ติดตามเรื่องพื้นที่ปริศนา บนโลกโดย Google Earth จาก VDOs




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น